วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2552

Week 7:Data Link Layer

Data link layer - ย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่อง

Major functions of data link layer photocol

-Medai Access control
เป็นเลเยอร์ย่อยที่อยู่ล่างสุดของดาต้าลิงค์เลเยอร์ ซึ่งจะทำหน้าที่เชื่อมต่อกับฟิสิคอลเลเยอร์ และรับผิดชอบในการรับส่งข้อมูลให้สำเร็จและถูกต้อง
-Error control
คือกลไลในการป้องกันและหาข้อผิดพลาดในการสื่อสาร
-Message Delineation
ระบุจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของข้อความ

Media Access Control (MAC)
ตรวจสอบให้แน่ใจว่า 2 ปาร์ตี้ไม่ส่งในเวลาเดียวกัน

-Point to point half duplex links
ไม่สามารถส่งและรับได้ในเวลาเดียวกัน

-Multipoint configuration
ลิงค์คอมได้มากกว่า 1 เครื่อง

Main approaches
- controlled access
1 device that control point, to allow another device send data (Ex. token)
- contention based access
ตรวจสอบกลางที่สามารถใช้งานได้หรือไม่ก่อนที่จะส่งข้อมูล
Polling
-Roll call polling
ใช้ใน mainframe คอมพิวเตอร์สามารถส่งข้อมูลเมื่อมีการถามโดยเซิร์ฟเวอร์และส่งข้อมูลไปยังเซิร์ฟเวอร์
-Hub polling
เชื่อมต่อกันเป็นวงแหวน

Error Control
-Corrupted
ข้อมูลถึงแต่ปลายทางไม่ถูกต้อง
-Lost data
ข้อมูลไม่ถึงปลายทางแต่บางทีก็มีการสูญเสียข้อมูล

Major function
-Preventing errors
งานที่มนุษย์ตรวจสอบด้วยตัวเอง
-Detecting and Correcting errors
ลิงค์ข้อมูลเลเยอร์ใช้หลังจากที่มนุษย์ไม่สามารถหาข้อผิดพลาดได้

Error Detection
-Parity Checking
เป็นวิธีการตวจสอบความผิดพลาดของข้อมูลที่ไม่ยุ่งยาก
นับจํานวน 1 เพื่อตรวจสอบว่าคี่หรือเลขคู่
Even parity: มีเลข 1 เป็นจำนวน คู่
Odd parity : มีเลข 1 เป็นจำนวน คี่
-Longitudinal Redundancy Checking (LRC)
เป็นการนำบล็อกของบิตข้อมูลมาจัดในตาราง(จัดเป็นแถวและหลัก) โดยการนำบล็อกของข้อมูล 32 บิตมาจัดในตารางให้เป็น 4 แถวและ 8 หลัก แล้วทำการตรวจสอบพาริตี้บิตของหลักทุกหลักแล้วจะได้แถวของข้อมูล 8 บิตขึ้นมาใหม่ 1 แถว การทำพาริตี้บิต บิตที่ 1 ในแถวที่ 5 ได้จากการทำพาริตี้คู่ของบิตแรกในทุกๆ แถว, พาริตี้บิต บิตที่ 2 ในแถวที่ 5 ได้จากการทำพาริตี้คู่ของบิตที่ 2 ในทุกๆ แถว และเป็นเช่นนี้จนถึงบิตที่ 8 จากนั้นทำการส่งพาริตี้บิต 8 บิตนี้ต่อจากข้อมูลเดิมส่งไปยังผู้รับ

Polynomial Checking
ปกติแล้วในการแทนบิตข้อมูลของตัวหารจะไม่ใช้รูปของเลขฐานสอง เนื่องจากค่อนข้างยาวและจำไดยากแต่จะเขียนให้อยู่ในรูปแบบของโพลิโนเมียลในการเลือกตัวหารเพื่อที่จะนำมาใช้ในกับวิธีแบบ CRC นั้น ควรจะต้องต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อยที่สุดเป็นดังนี้
- ไม่ควรที่จะถูกหารด้วย x ลงตัว
- ควรที่จะถูกหารด้วย x+1 ลงตัว

Checksum วิธีการตรวจสอบแบบ checksum
1.ข้อมูลจะถูกแบบออกเป็นเซ็กเมนต์ย่อย เซ็กเมนต์ละ n บิต
2.นำข้อมูลของทุกเซ็กเมนต์มาบวกันด้วยวิทีการแบบ 1's Complement
3.นำผลรวมของทุกเซ็กเมนต์มาทำคอมพลีเมนต์
4.ส่งบิตตรวจสอบไปพร้อมกับข้อมูล

การตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูลเมื่อข้อมูลมาถึงผู้รับ จะมีขั้นตอนการตรวจสอบดังนี้
1.รวบรวมข้อมูลแต่ละเซ็กเมนต์ๆ ละ n บิต
2.นำข้อมูลของทุกเซ็กเมนต์มาบวกกันด้วยวิธีการแบบ 1's Complement
3.นำผลรวมของทุกเซ็กเมนต์มาทำคอมพลีเมนต์
4.ถ้าผลลัพธ์ที่ไดเท่ากับ 0 แสงว่าข้อมูลชุดนั้นถูกต้อง

Error CorrectionRetransmission
ถ้ารับข้อมูลมาเกิดความผิดพลาด ก็จะส่งข้อมูลไปบอกทางผู้รับให้ส่งกลับมาใหม่

Forward Error Correction (FEC) จะทำให้ผู้รับข้อมูลที่เกิดความผิดพลาดนั้นสามารถที่จะแก้ไขความผิดพลาดของข้อมูลได้โดยอัตโนมัติ

cyclic redundancy check
ถ้าต้องการกี่บิท นับจำนวน 0 เช่น 4 บิท 0000

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น